Topic: การสอบเทียบ

บริการทดสอบเสียงและสั่นสะเทือนสำหรับระบบราง 0

บริการทดสอบเสียงและสั่นสะเทือนสำหรับระบบราง

เสียงและสั่นสะเทือนสำหรับระบบรางรถไฟ

Railway Noise and Vibration

Geonoise Asia มีทีม Acoustic engineer ที่มีประสบการในการคำนวณ Simulation และงานตรวจวัดและทดสอบด้าน Acoustics and Vibrations สำหรับระบบราง โดยเครื่องมือที่ทันสมัย โดยเรามี Professional service ดังต่อไปนี้

Railway noise simulation (การคำนวณระดับเสียงรถไฟโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์)

ในการประเมินผลกระทบทางเสียง หรือการออกแบบระบบควบคุมเสียงจากระบบรางที่ส่งผลต่อชุมชน การใช้แบบจำลองทางคณิตศาตร์ SoundPLAN เป็นอีกเครื่องมือนึงที่มีประสิทธิภาพ ทำให้เราสามารถคคากการณ์ได้และรู้ถึงแนวโน้มของเสียงที่ส่งผลกระทบมายังชุมชน โดยทางทีมวิศวกรของ Geonoise สามารถทำการคำนวณได้อย่างแม่นยำตามมาตรฐานสากล เช่น BUB:2018 – CNOSSOS-EU Rail:2015 – CoRN:1995 – FTA / FRA-HSGT: 2005 – Israeli Rail:2006 – Japan Narrow Gauge Railways:2008 – NFS 31-133 Rail:2007 – ONR 305011:2009 – RMR:2002 (EU Interim) – Russian Rail – RVE 04.01.02:2019 – Schall 03:1990 – Schall 03:2012 – SEMIBEL – VBUSch:2006

Railway internal noise measurement (ทดสอบระดับเสียงทั่วไปภายในรถไฟ)

ทดสอบระดับเสียงทั่ว Sound level measurement ไปภายในห้องโดยสารขณะที่รถไฟวิ่ง โดยใช้เครื่องวัดระดับเสียง Class 1 ตามมาตรฐาน IEC 61672-1 และยังสามารถวัดค่าดัชนีความชัดเจน STIPA ของเสียงประกาศภายในห้องโดยสาร

Railway Acoustic location (หาแหล่งกำเนิดเสียงที่ผิดปกติหรือระบุตำแหน่งของเสียงที่เกิดขึ้นบนรถไฟ)

การระบุตำแหน่งของการเกิดเสียงจากการวิ่งหรือการเบรกของรถไฟ โดยใช้ระบบ Array microphones หรือการ Beamformming โดยใช้เครื่องมือ Acoustic camera และชุด Microphones จำนวน 128 ตัว เพื่อให้ได้ความแม่นยำสูงสุดในการระบุตำแหน่งของเสียงที่เกิดขึ้น

Railway dynamic pass by measurement (ทดสอบระดับเสียงรถไฟขณะเคลื่อนที่)

Railway noise and vibration monitoring (ติดตามตรวจสอบเสียงและแรงสั่นสะเทือนของระบบราง)

Railway noise track emission measurement (ทดสอบเสียงและสั่นสะเทือนของระบบราง)

Roughness of rails, rolling noise (ทดสอบความขรุขระและระดับเสียงของระบบราง)

นอกจากนี้ทางวิศวกรของทาง Geonoise ก็ยังสามารถรับทดสอบในด้านสั่นสะเทือนของระบบรางไม่ว่าจะเป็นการออกแบบระบบติดตามตรวจสอบ Railway monitoring ในระยะยาว หรือการทดสอบ Noise emission จาก Track ของรถไฟ ตามมาตรฐานสากล

ทดสอบความขรุขระและระดับเสียงของระบบราง
 

สามารถเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราได้ที่
http://www.geonoise.co.th/

สามารถติดต่อเราได้ที่
Tel Office : 02-1214399
Line : @Geonoise
EMail : contact@geonoise.asia

อ่านเพิ่มเติมได้ที่ Geonoise

บริการเช่าเครื่องมือวัด 0

บริษัทจีโอนอยซ์มีบริการให้เช่าเครื่องมือวัดเสียง และสั่นสะเทือน สำหรับงานวิเคราะห์ทางสิ่งแวดล้อม และงาน Acoustic consult และยังมีเครื่อมือวัดอุตสาหกรรม และเครื่องมือทดสอบสมบัติทางวัสดุอื่นๆ อีกมากมายค่ะ หากคุณลูกค้าสนใจหรือมีปัญหาเกี่ยวกับด้านเสียง, ความสั่นสะเทือน มาปรึกษากับทางเราได้นะคะ จีโอนอยซ์ยินดีให้บริการลูกค้าทุกท่านค่ะ 😊
————————————————————————————
————————————————————————————
สามารถเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราได้ที่
http://www.geonoise.co.th/

สามารถติดต่อเราได้ที่
Tel Office : 02-1214399
Line : @geonoise
EMail : contact@geonoise.asia
————————————————————————————
————————————————————————————
#Geonoise #GeonoiseThailand #Norsonic #Impedancetube #ตรวจวัดเสียง #เสียงรบกวน #เครื่องวัดเสียง #จำหน่ายเครื่องวัดเสียง #รับปรึกษาปัญหาเรื่องเสียง #ควบคุมเสียง #SoundSource #BuildingAcoustics #เครื่องวัดแรงสั่นสะเทือน #โปรแกรมเสียง #บริการสอบเทียบ #Calibration #NoiseAlarm #SoundPLAN #NoiseAtWork #Noisecontour #มลพิษทางเสียง #Acoustic #เครื่องวัดฝุ่น #Dustmate #หาแหล่งกำเนิดเสียง #วิเคราะห์เสียง #Measurement #Microphone #NoiseTraining #เครื่องแกะสลักแผงวงจร

การสอบเทียบไมโครโฟน (Microphone Calibration) 0

การสอบเทียบ (Calibration)

การสอบเทียบเทียบ!!!

การสอบเทียบ คือ “ชุดของการดำเนินการเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าที่ชี้บอกโดยเครื่องมือวัด หรือระบบการวัด หรือค่าที่แสดงโดยเครื่องวัดที่เป็นวัสดุกับค่าสมนัยที่รู้ของปริมาณที่วัดภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้” จาก ( พจนานุกรมระหว่างประเทศของคำศัพท์พื้นฐานและคำศัพท์ทั่วไปในมาตรวิทยา )

 

ทำไมต้องมีการสอบเทียบไมโครโฟน?

สิ่งของต่างๆที่เราใช้ในชีวิตประจำวันเมื่อถึงเวลามักจะต้องมีการเสื่อมสภาพเป็นธรรมดา ซึ่งในที่นี้ก็รวมไปถึงเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไปก็ต้องมีการเสื่อมสมรรถภาพไปตามกาลเวลา และไม่มีทางที่จะเหนี่ยวรั้งไม่ให้มันเสื่อมสภาพได้ ซึ่งทางแก้ปัญหามีอยู่ทางเดียวคือ ต้องรักษาเครื่องมือเครื่องใช้นั้นๆ ให้ดี เพื่อให้เครื่องมือนั้นๆอยู่กับเรานานๆ แต่ถ้าเครื่องมือของเราเกิดอาการงองแง, เสียหรือชำรุด นั่นก็แน่นอนว่าเราต้องซ่อมหรือดัดแปลงมันให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ตามความต้องกาารของเราได้ดังเดิม แต่สำหรับเครื่องมือวัดค่าต่างๆนั้น การเสื่อมสภาพในการวัดค่า มันไม่ใช่เรื่องที่ดีเลย และเป็นสิ่งที่ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน และวิธีที่จะสามารถช่วยให้เครื่องมือวัดค่าของเรากลับมามีการวัดค่าที่ดีดังเดิมก็คือ “การสอบเทียบเสียง”

ทำไมต้องเจาะจงเฉพาะการสอบเทียบเครื่องวัดค่าต่างๆ

เพราะการวัดค่าต่างๆ จำเป็นอย่างมากที่จะต้องมีความเที่ยงตรงและแน่นอนเสมอๆ ถ้าเกิดการผิดเพี้ยนของค่าการวัดไปเพียงเล็กน้อย นั่นก็สื่อถึงความไม่ได้มาตรฐานของการวัด ดังนั้น เราจึงจำเป็นต้องสอบเทียบ เพื่อให้ค่านั้นๆตรงตามมาตรฐานอยู่เสมอๆ และเพื่อรักษามาตรฐานในการวัดให้ตรงตามที่มาตรฐานได้กำหนด

A photo by Sergey Zolkin. unsplash.com/photos/m9qMoh-scfE