ในปัจจุบัน ผมพูดภาษาไทยกันจนลืมไปเลยว่าคำไหนที่มีความแตกต่างกันบ้างหรือเปล่า เรามักจะเหมารวมคำที่คล้ายๆกัน แล้วนำมาพูดมาในความหมายที่เหมือนกัน ซึ่ง มีอยู่วันหนึ่งผมก็เกิดสงสัยว่า กลุ่มคำเหล่าที่ ที่จะกล่าวมาทางด้านล่างนี้ มันมีความหมายเหมือนกันซะเหลือเกิน จนผมไม่รู้สึกว่ามันแตกต่างอะไรกัน ผมจึงเกิดความคิดที่จะหาข้อมูลในส่วนนี้ จึงได้ข้อสรุปที่ว่า
คำว่า”ระดับเสียง” Pitch มีหน่วยเป็น dB (decibel)
คำว่า”ระดับความดันเสียง” Sound Pressure Level มีหน่วยเป็น dB (decibel)
คำว่า “ความดัง” Loudness มีหน่วยเป็น โซน (Sone)
คำว่า “ระดับความดัง” Loudness Level มีหน่วยเป็น โฟน (Phon)
ผมจึงขอหยิบยกคำพูดจาก อาจารย์ปราโมช เชี่ยวชาญ ที่ว่า (ให้สังเกตจากกฏหมายฉบับใหม่ ๆ จะพบว่า การกำหนดมาตรฐานเสียงตามกฎหมายต่าง ๆ ของประเทศไทยจะใช้คำว่า ค่าระดับเสียง โดยไม่ใช้คำว่าความดัง เพราะอาจทำให้สับสนกับคำว่า Loudness หรือ Loudness Level)
ขอขอบคุณที่ไดรับฟังและรับชมนะครับ
……………………………………………
เอกสารอ้างอิง
กรมควบคุมมลพิษ . (2544). มลพิษทางเสียง. กรุงเทพมหานคร: บริษัทซิลค์คลับ จำกัด.
ปราโมช เชี่ยวชาญฬ. (2551). เอกสารการสอนชุดวิชาสุขศาสตร์อุตสาหกรรม: การประเมิน. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สราวุธ สุธรรมาสา. (2547). การจัดการมลพิษทางเสียงจากอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร: บริษัทซีแอนด์ เอส พริ้นติ้ง จำกัด
Cyril, M. Harris. (eds.). (1991). Handbook of Acoustical Measurements and Noise Control. 3rd ed. New York : McGraw Hill Inc.
John, E.K. Foreman. (1990). Sound Analysis and Noise Control. New York: Van Nostrand Reinhold.
Lawrence, K. Wang, Norman, C. Pereira and Yung-Tse, Hung (eds). (2005). Advanced Air and Noise Pollution Control. New Jersy: Humana Press Inc.
WHO. (2001). Occupational Exposure to Noise: Evaluation, Prevention and Control. ค้นคืนเมื่อ พฤษภาคม 2555 จาก http//www.mne.psu.edu/lamancusa/me458/
ขอขอบคุณ : http://www.stou.ac.th/Schools/Shs/booklet/book55_3/sanitation.html