การป้องกันและวิธีลดความดังของเสียง



การป้องกันและวิธีลดความดังของเสียง
ควบคุมที่แหล่งกำเนิด
– การออกแบบอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรให้มีการทำงานที
่เงียบ
– การเลือกใช้อุกรณ์ เครื่องมือ ควรเลือกประเภทที่มีเสียงดั
งน้อยกว่าเช่น การใช้เครื่องปั๊มโลหะ ที่เป็นระบบไฮดรอลิกแทน เครื่องที่ใช้ระบบกล
– การเปลี่ยนกระบวนการผลิตที่
ไม่ทำให้เกิดเสียงดัง
– การจัดหาที่ปิดล้อมเครื่องจ
ักร โดยนำวัสดุดูดซับเสียงมาบุล
งในโครงสร้าง ที่จะใช้ครอบหรือ ปิดล้อมเครื่องจักร
– การติดตั้งเครื่องจักรให้วา
งอยู่ในตำแหน่งที่มั่นคง เนื่องจากเสียงเกิดจากการสั
่นสะเทือนของเครื่องจักร และการ
ใช้อุปกรณ์กันสะเทือนจะช่วย
ลดเสียงได้
การควบคุมที่ทางผ่านของเสีย

– เพิ่มระยะห่างระหว่างเครื่อ
งจักร และผู้รับเสียง ทำให้มีผลต่อระดับเสียง โดยระดับเสียงจะลดลง 6 เดซิเบลเอ ทุกๆ ระยะทางที่เพิ่มขึ้นเป็นสอง
เท่า
– การทำห้อง หรือกำแพงกั้นทางเดินของเสี
ยง โดยออกแบบวัสดุเก็บเสียง หรือดูดซับเสียงที่ สัมพันธ์กับความถี่ของเสียง
– การปลูกต้นไม้ยืนต้นที่มีใบ
ดกบริเวณริมรั้ว ช่วยในการลดเสียงได้
การควบคุมการรับเสียงที่ผู้
ฟัง
การใช้อุปกรณ์ป้องกันต่อหู เพื่อลดความดังของเสียงมี 2 แบบคือ
– ที่ครอบหู จะปิดหูและกระดูกรอบ ๆ ใบหูไว้ทั้งหมด สามารถลดระดับความดังของเสี
ยงได 20-40 เดซิเบลเอ 
– ปลั๊กอุดหู ทำด้วยยาง หรือพลาสติก ใช้สอดเข้าไปในช่องหูสามารถ
ลดระดับความดังของ เสียงได้ 10-20 เดซิเบลเอ การลดระยะเวลาในการรับเสียง
ของผู้ที่อยู่ในบริเวณที่มี
เสียงดัง เกินมาตรฐาน โดยจำกัดให้น้อยลง


ขอขอบคุณสาระดีๆจาก

https://www.deqp.go.th/ ด้วยค่ะ

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *